首页 兰甘亨石碑

兰甘亨石碑

举报
开通vip

兰甘亨石碑 ศิลาจารึกพ่อขุนรามค าแหงมหาราช เน้ือหาทีม่ีในศิลาจารึกพ่อขุนรามค าแหงมหาราช ตอนที่ ๑ ตั้งแต่บรรทัดท่ี ๑ ถึงบรรทัดท่ี ๑๘ เปน็พระราชประวัติของพ่อขุนรามค าแหง ใช้ค าว่า "ก"ู เปน็พ้ืน ตอนที ่๒ กล่าวถึงพระราชกรณียกจิ และขนบธรรมเนียมในกรุงสุโขทัย เ...

兰甘亨石碑
ศิลาจารึกพ่อขุนรามค าแหงมหาราช เน้ือหาทีม่ีในศิลาจารึกพ่อขุนรามค าแหงมหาราช ตอนที่ ๑ ตั้งแต่บรรทัดท่ี ๑ ถึงบรรทัดท่ี ๑๘ เปน็พระราชประวัติของพ่อขุนรามค าแหง ใช้ค าว่า "ก"ู เปน็พ้ืน ตอนที ่๒ กล่าวถึงพระราชกรณียกจิ และขนบธรรมเนียมในกรุงสุโขทัย เร่ืองของการสร้างพระแท่ นมนังศิลาบาตรเมื่อ มหาศักราช ๑๒๑๔ เร่ืองการสร้างพระมหาธาตุ เมืองศรีสัชนาลัย เมื่อมหาศักราช ๑๒๐๗ และเร่ืองการ ประดิษฐ์อักษรไทยข้ึน เมื่อมหาศักราช ๑๒๐๕ ตอนน้ีไม่ใช้ค าว่า "ก"ู เลย ใช้ค าว่าพ่อขุนรามค าแหง ตอนที ่๓ ตั้งแต่ด้านท่ี ๔ บรรทัดท่ี ๑๒ ถึงบรรทัดสุดท้าย เปน็ค ายอพระเกยีรติพ่อขุนรามค าแหงตอนน้ีเข้าใจว่าจารึก ภายหลังจากตอนแรกหลายป ีเพราะตัวหนังสือไม่เหมือนกบั ตอนท่ี ๑ และตอนท่ี ๒ คือตัวพยัญชนะลีบกว่า ท้ังสระท่ีใช้กต็่างกนัมาก ลักษณะของศิลาจารึก เปน็แท่งรูปส่ีเหล่ียม มียอดแหลมมน สูง ๑ เมตร ๑๑ เซนติเมตร มีข้อความจารึกท้ัง ๔ ด้าน สูง ๕๙ เซนติเมตร กว้าง ๓๕ เซนติเมตร ด้านท่ี ๑ และ ด้านท่ี ๒ มี ๓๕ บรรทัด ด้านท่ี ๓ และ ด้านท่ี ๔ มี ๒๗ บรรทัด ประวัตกิารค้นพบศิลาจารึกสุโขทยัหลักที ่๑ ในปพุีทธศักราช ๒๓๗๖ เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ยังทรงผนวชอยู่ และได้เสด็จ ประพาสเมืองเหนือ เพ่ือนมัสการเจดียสถานต่างๆ ทรงพบศิลาจารึกหลักน้ี และศิลาจารึกวัดปา่มะม่วง พร้อมกบัพระแท่นมนังศิลาบาตรท่ีเนินปราสาทเกา่เมืองสุโขทัย จึงโปรดเกล้าฯ ให้น าลงมาเกบ็รักษาไว้ ณ วัดราชาธิวาส ซ่ึงเปน็ท่ีประทับจ าพรรษา คร้ันเมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จมาประทับ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร กโ็ปรดให้ส่งศิลาจารึกหลักน้ีมาด้วย ภายหลังเมื่อได้เสวยสิริราชสมบัติแล้ว จึงโปรด เกล้าฯ ให้ย้ายจากวัดบวรนิเวศวิหารไปตั้งไว้ท่ีศาลาราย ภายในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ข้างด้านเหนือพระ อุโบสถหลังท่ีสองนับจากตะวันตก จนถึงปพุีทธศักราช ๒๔๖๖ จึงได้ย้าย ศิลาจารึก มาไว้ท่ีหอพระสมุดวชิ รญาณ และเมื่อพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชทานพระท่ีน่ังศิวโมกขพิมานในพระราชวัง บวรสถานมงคล ให้เปน็ท่ีตั้งหอพระสมุดวชิรญาณในปพุีทธศักราช ๒๔๘๖ จึงโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายศิลา จารึกมาเกบ็ไว้ ณ พระท่ีน่ังศิวโมกขพิมาน คร้ันเมื่อพุทธศักราช ๒๕๐๘ กองหอสมุดแห่งชาติย้ายไปอยู่ ณ อาคารหลังใหม่ท่ีท่าวาสุกรี ประกอบกบักองโบราณคดี ด าริจัดตั้งพิพิธภัณฑก์อ่นประวัติศาสตร์ข้ึนท่ีพระท่ี น่ังศิวโมกขพิมาน จึงได้ย้ายศิลาจารึกท้ังหมดรวมท้ังศิลาจารึกพ่อขุนรามค าแหงมหาราช (ศิลาจารึกสุโขทัย หลักท่ี ๑) ไปไว้ท่ีหอวชิราวุธ จนถึงพุ ทธศักราช ๒๕๑๑ จึงได้ย้ายเฉพาะศิลาจารึกพ่อขุนรามค าแหง มหาราช ไปตั้งท่ีอาคารสร้างใหม่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ด้านเหนือชั้นบน ซ่ึงเปน็ห้องแสดง ศิลปะสมัยสุโขทัยจนปจัจุบัน ศิลาจารึกพ่อขุนรามค าแหงมหาราช ศิลาจารึกเปน็หลักฐานอย่างหน่ึงท่ีบรรพชนสมัยโบราณสร้างข้ึนเพ่ือถ่ายทอดเร่ืองราวให้อนุชนรุ่น หลังได้ทราบเร่ืองท่ีเกดิข้ึนในอดีตในช่วงเวลาท่ีมีการจารึกศิลาน้ันๆ นอกจากน้ีศิลาจารึกยังเปน็หลักฐาน ส าคัญอย่างหน่ึงในการศึกษาวิชาประวัติศาสตร์ และโบราณคดี การจัดล าดับความส าคัญของหลักฐาน และเอกสารอ้างอิงน้ัน ถือกนัว่าศิลาจารึกเปน็เอกสารข้อมูลปฐมภูมิท่ีมีคุณค่าใช้อ้างอิงได้ ศิลาจารึกเกา่ท่ีสุดท่ีพบในประเทศไทย เท่าท่ีมีหลักฐานทางศักราชปรากฏอยู่ด้วยคือ จารึกเขาน้อย พบท่ีเขาน้อย อ าเภออรัญประเทศ จังหวัดปราจีนบุรี สร้างข้ึนในปพุีทธศักราช ๑๑๘๐ จารึกท่ีพบท่ัวไปใน ประเทศไทยใช้อักษรต่างๆกนั เช่นอักษรปลัลวะ อักษรมอญโบราณ อักษรขอมโบราณ จารึกท่ีคนไทยท าข้ึนปรากฏหลักฐานในต้นพุทธศตวรรษท่ี ๑๙ เมื่อคนไทยกอ่ตั้งอาณาจักรสุโขทัย ข้ึนในแถบลุ่มแม่น้ ายม พ่อขุนรามค าแหงมหาราช กษัตริย์พระองค์ท่ี ๓ แห่งราชวงศ์สุโขทัยได้ประดิษฐ์ ลายสือไทยข้ึนในปพุีทธศักราช ๑๘๒๖ ลายสือไทยในศิลาจารึกพ่อขุนรามค าแหงมหาราช (ศิลาจารึกหลักท่ี ๑) เปน็จารึกอักษรไทยท่ีเกา่ท่ีสุด และไม่มีลักษณะของรูปอักษรไทยท่ีแห่งใดจะเกา่เท่า แม้ว่าจะได้พบจารึก อักษรไทยจ านวนมากในทุกภาคของประเทศไทย แต่หลักฐานการค้นพบปรากฏว่า จารึกเหล่าน้ันมีอายุอยู่ ระหว่างพุทธศตวรรษท่ี ๒๐ ลงมาท้ังส้ิน รูปอักษรไทยสมัยสุโขทัยได้เปน็แม่แบบของรูปอักษรไทยท่ัวไปใน สมัยปจัจุบัน คุณค่าของศิลาจารึกพ่อขุนรามค าแหงมหาราช ศิลาจารึกน้ีแม้มีเน้ือความส้ันเพียง ๑๒๔ บรรทัด แต่บรรจุเร่ืองราวท่ีอุดมด้วยคุณค่าทางวิชาการ หลายสาขา ท้ังในด้านนิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ เศรษฐกจิ สังคม ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ภาษาศาสตร์ วรรณคดี ศาสนา และจารีตประเพณ ีด้านนิติศาสตร์ ศิลาจารึกหลักน้ีอาจถือว่า เปน็กฎหมายรัฐธรรมนูญ เทียบได้กบัรัฐธรรมนูญฉบับแรกของอังกฤษ มีการก าหนดสิทธิเสรีภาพของประชาชน และรักษาสิทธิ มนุษยชน เห็นได้จากข้อความท่ีกล่าวถึง มีการคุ้มครองเชลยศึก นอกจากน้ี ยังมีข้อความเสมือนเปน็บทบัญญัติในกฎมณเฑยีรบาล และบั ญญัติในกฎหมายแพ่ง ลักษณะครอบครัวและมรดก ตลอดจนการพิจารณาความแห่งและอาญา ด้านนิตศิาสตร์ ศิลาจารึกหลักน้ีอาจถือว่า เปน็กฎหมายรัฐธรรมนูญเทียบได้กบัรัฐธรรมนูญฉบับแรกของอังกฤษ มี การก าหนดสิทธิเสรีภาพของประชาชน และรักษาสิทธิมนุษยชน เห็นได้จากข้อความท่ีกล่าวถึง มีการ คุ้มครองเชลยศึก นอกจากน้ี ยังมีข้อความเสมือนเปน็บทบัญญัติในกฎมณเฑยีรบาลและบทบัญญัติใน กฎหมายแพ่งลักษณะครอบครัวและมรดก ตลอดจนการพิจารณาความแพ่งและอาญา ด้านรัฐศาสตร์ ศิลาจารึกหลักน้ีได้กล่าวถึงความใกล้ชิดระหว่างกษัตริย์กบัประชาชนว่า พ่อขุนรามค าแหงมหาราช โปรดให้ข้าราชบริพารเข้าเฝ้าปรึกษาราชการได้ทุกวัน ยกเว้นวันพระ และเปดิโอกาสให้ราษฎรมาส่ันกระด่ิง เพ่ืออุทธรณ์ฎีกาได้ทุกเมื่อ ด้านเศรษฐกิจ ข้อความท่ีจารึกไว้ว่า "ในน้ ามีปลา ในนามีข้าว" แสดงให้เห็นว่าเศรษฐกจิในสมัยสุโขทัยน้ัน มีความ มั่นคงมาก นอกจากน้ียังมีการชลประทาน การเกษตรกรรมอุดมสมบูรณ์ และการค้าขายกท็ าโดยเสรี ด้านประวัตศิาสตร์ ศิลาจารึกหลักน้ีช่วยให้เราได้ทราบถึงประวัติความรุ่งเรืองชองชาติไทยในยุคสุโขทัย และประวัติ เร่ืองราวอ่ืนๆ เช่นประวัติราชวงศ์สุโขทัย ประวัติการรวบรวมอาณาจักรไทยให้เปน็ปกึแผ่น ประวัติการค้าโดย เสรี ประวัติการสืบสร้างพระพุทธศาสนา และการประดิษฐ์อักษร ด้านภูมิศาสตร์ ศิลาจารึกหลักน้ีได้ระบุอาณาเขตของสุโขทัยไว้อย่างชัดแจ้ง กล่าวถึงว่าทิศตะวันออก จดเวียงจันทน์ เวียงค า ทิศใต้จดศรีธรรมราช และฝั่งทะเล ทิศตะวันตกถึงหงสาวดี ทิศเหนือถึงเมืองแพร่ น่าน พล่ัว มีการ กล่าวถึงชื่อเมืองส าคัญต่างๆ หลายเมือง เช่นเชลียง เพชรบุรี นอกจากน้ียังได้พรรณนาแหล่งท ามาหากนิ และและแหล่งท่ีอยู่อาศัยของชาวเมืองสุโขทัยไว ้ ด้านภาษาศาสตร์ ลายสือไทยสมัยพ่อขุนรามค าแหงมหาราชมีความสมบูรณ์ท้ังสระและพยัญชนะ สามารถเขียนค า ภาษาไทยได้ทุกค า และสามารถเลียนเสียงภาษาต่างประเทศได้ดีกว่าอักษรแบบอ่ืนๆ เปน็อันมาก มีการใช้ อักขรวิธีแบบน าสระและพยัญชนะมาเรียงไว้ในบรรทัดเดียวกนั ซ่ึงท าให้ประหยัดท้ังเน้ือท่ีและเวลาในการเขียน ภาษาเปน็ส านวนง่ายๆ และมีภาษาต่างประเทศบ้าง ประโยคท่ีเขียนกอ็อกเสียงอ่านได้เปน็จังหวะคล้องจอง กนัคล้ายกบัการอ่านร้อยกรองด้านวรรณคดี ศิลาจารึกหลักน้ีจัดว่าเปน็วรรณคดีเร่ืองแรกของไทย เพราะมี ข้อความไพเราะลึกซ้ึงและกนิใจ กอ่ให้เกดิจินตนาการได้งดงาม ด้านศาสนา ข้อความในศิลาจารึกน้ี มีหลายตอนท่ีแสดงให้เห็นว่า พระพุทธศาสนาซ่ึงเปน็ศาสนาประจ าชาติไทย ในสมัยพ่อขุนรามค าแหงมหาราชน้ัน ได้รับการอุปถัมภ์เชิดชูอย่างดีย่ิง ประชาชนชาวไทยได้ท านุบ ารุง พระพุทธศาสนาให้มีความเจริญรุ่งเรืองสูงส่ง มีการสร้างปชูนียสถานและปชูนียวัตถุไว้เปน็จ านวนมาก พระพุทธรูปสมัยสุโขทัยสร้างข้ึนด้วยความศรัทธาในพระศาสนา จึงมีศิลปะงดงามย่ิง แม้ในปจัจุบันน้ีกยั็งไม่ สามารถจะสร้างให้งามทัดเทียมได้ด้านจารีตประเพณี ศิลาจารึกหลักน้ีช่วยให้ทราบว่า สมัยสุโขทัยน้ันมีหลัก จารีตประเพณีหลายประการท่ีประชาชนนับถือและปฏบิัติกนัอยู่ มีท้ังประเพณีทางพระพุทธศาสนาและ ประเพณีอ่ืนๆ เช่นประเพณีรักษาศีลเมื่อเข้าพรรษา ประเพณีฟังธรรมในวันพระ ประเพณีการทอดกฐิน ประเพณีการเผาเทียนเล่นไฟ เปน็ต้น ศิลาจารึกพ่อขุนรามค าแหงมหาราชน้ี เปน็เอกสารท่ีส าคัญย่ิงชิ้นหน่ึงของชาติไทย เปน็มรดกอันล้ า ค่าและทรงคุณค่าอย่างย่ิง มีสาระประโยชน์แกช่าติบ้านเมืองนานัปการ ควรพิทักษ์รักษาไว้ให้ด ารงคงอยู่คู่ชาติ ไทยตลอดกาล
本文档为【兰甘亨石碑】,请使用软件OFFICE或WPS软件打开。作品中的文字与图均可以修改和编辑, 图片更改请在作品中右键图片并更换,文字修改请直接点击文字进行修改,也可以新增和删除文档中的内容。
该文档来自用户分享,如有侵权行为请发邮件ishare@vip.sina.com联系网站客服,我们会及时删除。
[版权声明] 本站所有资料为用户分享产生,若发现您的权利被侵害,请联系客服邮件isharekefu@iask.cn,我们尽快处理。
本作品所展示的图片、画像、字体、音乐的版权可能需版权方额外授权,请谨慎使用。
网站提供的党政主题相关内容(国旗、国徽、党徽..)目的在于配合国家政策宣传,仅限个人学习分享使用,禁止用于任何广告和商用目的。
下载需要: 免费 已有0 人下载
最新资料
资料动态
专题动态
is_958692
暂无简介~
格式:pdf
大小:343KB
软件:PDF阅读器
页数:11
分类:
上传时间:2013-02-25
浏览量:139